วันพุธที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

ความหมายของ HUB Switch Router Gateway Layer-3 switch

ฮับ (Hub) เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน

switchในโทรคมนาคม, switch เป็นอุปกรณ์เครือข่ายที่ใช้เลือกเส้นทาง หรือวงจรสำหรับการส่งข้อมูล หรือปลายทางต่อไป switch (สวิท์ช) อาจจะรวมการทำงานของ router, อุปกรณ์หรือโปรแกรม ที่สามารถค้นหาเส้นทาง หรือกำหนดจุดบนเครือข่ายที่ติดต่อกัน เพื่อให้ส่งข้อมูลไป โดยทั่วไป สวิท์ช เป็นกลไกที่ง่าย และเร็วกว่า router ซึ่งต้องการความรู้เกี่ยวกับเครือ และวิธีการหาเส้นทางความสัมพันธ์แบบจำลอง Open System Interconnecting, สวิท์ช เกี่ยวข้องกับ Layer หรือ Data-Link Layer อย่างไรก็ตาม สวิท์ชรุ่นใหม่ สามารถทำงานต้นเส้นทาง ของเลเยอร์ หรือ Network Layer โดยบางครั้ง switch layer 3 ได้รับการเรียกว่า IP switchesบนเครือข่ายขนาดใหญ่ การเดินทางจากสวิท์ชหนึ่งไปยังตัวอื่นในเครือข่ายเรียกว่า hob เวลาที่สวิท์ชใช้ ในการชี้ถึงการส่งหน่วยข้อมูลเรียกว่า latency ราคาที่จ่ายให้กับความยืดหยุ่น ของสวิท์ชที่ให้กับเครือข่าย คือ latency สวิท์ชที่พบใน backbone และ gateway ของเครือข่าย ที่เครือข่ายหนึ่งใช้ต่อเชื่อมกับเครือข่ายอื่น และระดับเครือข่ายย่อย สำหรับการส่งต่อใกล้กับปลายทาง หรือจุดเริ่มต้น อันแรกเรียกว่า core switches และอันดับหลังเรียกว่า desktop switchesในเครือข่ายพื้นฐาน สวิท์ช ไม่ต้องการข่าวสารในการส่ง หรือรับภายเครือข่าย ตัวอย่างเช่น เครือข่ายแบบ LAN อาจจะจัดโครงสร้างด้วย todenring หรือการจัดเรียงบัส ในแต่ละปลายทางตรวจแต่ข่าวสาร และอ่านข่าวสารด้วยตำแหน่ง circuit switching เวอร์ชัน packet switching เส้นทางของเครือข่ายจะต้องใช้เฉพาะสำหรับภายในกลุ่ม 2 กลุ่มหรือมากกว่า และสวิท์ชสำหรับใช้กับกลุ่มอื่น ประเภทของ switching ที่รู้จักในชื่อ circuit switching และเป็นตัวแทนและเชื่อมต่อเส้นทางอย่างต่อเนื่อง สำหรับภายในกลุ่ม ปัจจุบัน การส่งข้อมูลส่วนใหญ่ใช้สัญญาณดิจิตอลผ่านเครือข่ายที่ใช้ packet switching การใช้ packet switching ผู้ใช้เครือข่ายทั้งหมดสามารถใช้เส้นทางร่วมกันในเวลาเดียวกัน และเส้นทางเฉพาะ ของหน่วยข้อมูลที่เดินทาง สามารถแปรผันตามเงื่อนไขที่เปลี่ยนใน packet switching การส่ง message จะได้รับการแบ่งเป็น แพ็คเกต ซึ่งมีหน่วยเป็นไบต์ address ของเครือข่ายสำหรับผู้ส่ง และสำหรับปลายทาง ได้รับการเพิ่มอยู่ในแพ็คเกต แต่ละจุดของเครือข่ายจะดูที่แพ็คเกต เพื่อส่งต่อแพ็คเกตใน message เดียวกันอาจจะมีเส้นทางที่ต่างกัน และอาจจะไม่ไปถึงในลำดับเดียวกับ การส่งที่ปลายทาง แพ็คเกตใน message จะได้รับการรวมและประกอบใหญ่เป็น message เหมือนเดิม

:Router:

ราท์เตอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายหลายระบบเข้าด้วยกัน คล้ายกับบริดจ์ แต่มีส่วนการ ทำงานที่ซับซ้อนมากกว่าบริดจ์มาก โดยเราท์เตอร์จะมีเส้นทางการเชื่อมโยงระหว่าง แต่ละเครือข่ายเก็บไว้เป็นตารางเส้นทาง เรียกว่า Routing Table ทำให้เราท์เตอร์สามารถทำหน้าที่จัดหาเส้นทางและเลือกเส้นทางที่เหมาะสมที่สุดในการเดินทาง เพื่อการติดต่อระหว่างเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

:Layer-3 switch:

เป็นตัวแบ่งแยกปริมาณการรับส่งข้อมูลหรือ LAN Traffic ของแต่ละกลุ่มออกจากกันโดยSwitch จะมีตารางการรับส่งข้อมูลเล็กๆภายในตัวเองที่จะคอยตรวจสอบว่าข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ IP Address ไหนส่งไปยังปลายทางใด และอยู๋ในพอร์ตใดของ Switch